สำหรับบล็อกนี้ เราจะรู้จักคำศัพท์ของภาษาตุรกี ที่พิมพอจะรวบรวมมาได้นะค่ะ จะไม่มีหมวดหมู่ตายตัวนะค่ะ เรียกว่า นึกอะไรได้ก็จับๆมาใส่ จะไม่เหมือนกับที่แล้วๆมา และจะเพิ่มเติมในส่วนของบทสนทนาด้วยเพื่อประกอบการจำคำศัพท์ของเรา
Ben - แบน - ฉัน
Sen - แซน - คุณ
O - โอ - เขา/เธอ/มัน
Biz - บิซ - เรา
Siz - ซิซ - พวกคุณ ( เป็นพหูพจน์นะค่ะ )
Onlar - โอนลาร์ช - พวกเขา
Günaydın - กูนายดึน - สวัสดีตอนเช้า
İyi akşamlar - อียี อัคชามลาร์ช - สวัสดีตอนบ่าย / เย็น
Hoşça kal - ฮอชชา คาล - บ๊ายบาย / ลาก่อน
Güle Güle - กูเล กูเล่ - ลาก่อน (ใช้ในกรณีที่อาจจะสนิทกะผู้สนทนา )
Nasılsınız? - นาซึลซึนึซ - สบายดีมั้ย
์Nasılsın ? - นาซึลซิน - สบายดีมั้ย
İyiyim - อียียิม - สบายดี
teşekkür ederim - แทแชคคู แอแดริม - ขอบคุณ (มีรูปแบบในการขอบคุณอีกนะค่ะย้อนกลับไปดูได้ค่ะ)
Elinize sağlık! - แอลินิแซ ซาลลึค - พูดเวลาที่เห็นเค้ากำลังทำกับข้าว
Kolay gelsin! - โคเล่ เกลซิน - พูดเวลาเห็นใครทำงานอยู่ ประมาณว่า "ทำงานดีๆนะ ขอให้ทุกอย่างราบรื่นนะ ประมาณนี้อ่ะค่ะ)
Geçmiş olsun! - แกชมิช โอลซูน - พูดเวลาอวยพรให้คนป่วยหายเร็วๆ
Çok yaşa! - ช็อค ยาช่า - พูดอวยพรให้อายุยืนยาว
Buyurun - บูยูรูน - (เวลาพูดคำนี้ให้กลืนคำว่า ยู ลงในคอนะค่ะ เสียงที่ได้มาจะเป็น บูรูน เราจะได้ยินคำนี้เวลาไปเดินช็อปปิ้ง หรือห้างร้าน ที่ไหนก็ตาม แม้แต่ในตลาด เพราะเป็นคำเชิญชวนให้เค้าไปในร้านนั่นเอง ประมาณว่า เชิญครับ เชิญค่ะ เชิญชมก่อนได้นะค่ะ เข้ามานั่งก่อนค่ะ )
buyurun efendim บูยูรูน แอแฟดิม คำนี้ก็จะประมาณ ว่า Sir หรือ Madam เช่น เชิญก่อนค่ะคุณ อะไรประมาณนี้ จะสุภาพ และเชื้อเชิญกว่า และในบางทีเราอาจได้ยินคำนี้ ในการรับโทรศัพท์เหมือนกัน
Hadi - ฮาดึ - ใช้แบบเดียวกับ Buyurun ค่ะ
Hoş geldiniz - ฮอช แกลดินิซ - ยินดีต้อนรับ (เราจะได้ยินบ่อยถ้าไปพักโรงแรม หรือ ไปเยี่ยมบ้านใครแล้วเค้ากล่าวต้อนรับเรานั่นเอง)
hoş bulduk - ฮอช บูลดูก - เป็นคำกล่าวตอบของ Hoş geldiniz ประมาณว่า ยินดีหรือมีความสุขที่ได้อยู่ที่นี่เช่นกัน
------------------------- วันนี้ขอจบแค่นี้ก่อนนะค่ะ สำหรับครั้งต่อไป พิมจะเอาใจคนมีความรักด้วยการนำศัพท์เกี่ยวกับความรัก มาหยอดให้สาวๆที่มีหวานใจชาวตุรกีได้น้ำตาลขึ้นกันค่ะ ---------------
วันอังคารที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2557
ภาษาตุรกีวันละนิด #2
สวัสดีค่าาาา ตามที่สัญญากันไว้ในครั้งที่แล้ว ว่าวันนี้เราจะมารู้จักกับคำศัพท์ที่เกี่ยวกับครอบครัวในภาษาตุรกีกัน อย่างเช่นเคยนะค่ะ พิมออกตัวไว้ก่อนเลยว่า พิมไม่ใช่ผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญในภาษาตุรกี พิมใช้วิธีศึกษาด้วยตัวเองบ้าง อ่านหนังสือบ้าง ฟังจาก Youtube บ้างและรวบรวมมาแชร์ต่อๆกัน หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยกันด้วยนะค้า ^--^
Abi - อาบิ - พี่ชายคนโต
Abla - อาบลา - พี่สาวคนโต
เอาล่ะอย่ารอช้า เรามาเริ่มกันเลยดีกว่า
Baba - บ่าบ๊า - พ่อ ( ออกสำเนียงตามนี้เลยนะค่ะ )
Anne - อานเน้ - แม่
Kardeş - คาร์แดช - พี่ชายKız kardeş - คึซ คาร์แดช - พี่สาวAbi - อาบิ - พี่ชายคนโต
Abla - อาบลา - พี่สาวคนโต
Dede - แดแด - ปู่ / ตา
Anneanne - อานแนอานแน่ - ยาย ( ทำไมต้องพูดซ้ำเนอะ คงงงน่าดูถ้า แม่กะยาย นั่งด้วยกัน อิอิ)
Torun - โทรุน - หลาน
Eş - แอช - สามี/ภรรยา
Oğul - โอล - ลูกชาย ( อันนี้พิมไม่แน่ใจในการออกเสียงแต่คิดว่าน่าจะใกล้เคียงนะค่ะ )
Kız - คึซ - ลูกสาว
Teyze - ไทยแซ่ - ป้า (ฝ่ายแม่) / น้าผู้หญิง
Dayı - ดายึ - ลุง (ฝ่ายแม่ ) / น้าผู้ชาย
Hala - ฮาลา - ป้า (ฝ่ายพ่อ) / อาผู้หญิง
Amca - อัมจ้า - ลุง (ฝ่ายพ่อ ) / อาผู้ชาย
Babaanne - บ่าบ๊าอานเน่ - ย่า
Kaynana - คายนาน่า - แม่สามี
kayınbaba - คายึนบาบา - พ่อสามี
Evli - แอฟลิ - แต่งงานแล้ว (คำนามนะค่ะ)
Bekar - แบคาร์ช - โสด
Evli - แอฟลิ - แต่งงานแล้ว (คำนามนะค่ะ)
Bekar - แบคาร์ช - โสด
วันและเดือน ในภาษาตุรกี
สวัสดีค่ะ หลังจากที่ได้เขียนบล็อคเกี่ยวกับภาษาตุรกีไปแล้ว 3 บทความ ก็ได้รับการตอบรับที่ดีนะค่ะ วันนี้พิมเลย ค้นหาภาษาตุรกีมาแชร์กันอีก อย่างที่บอกนะค่ะ ว่า สิ่งที่พิมนำมาแชร์เป็นการแชร์จากการเรียนรู้ด้วยตัวเอง จึงไม่ถูกที่สุดหรือผิดที่สุด ถ้าผิดพลาดประการใดก็ขออภัยกันล่วงหน้าเลยละกันเนอะ ^&^
วันนี้เราจะมารู้จักเกี่ยวกับวันกันนะค่ะ
Pazartesi - พาซาแทซี - วันจันทร์
Salı - ซาลึ - วันอังคาร
Çarşamba - ชาร์ชามบ้า - วันพุธ
วันนี้เราจะมารู้จักเกี่ยวกับวันกันนะค่ะ
Pazartesi - พาซาแทซี - วันจันทร์
Salı - ซาลึ - วันอังคาร
Çarşamba - ชาร์ชามบ้า - วันพุธ
Perşembe - แพแชมแบ้ - วันพฤหัสบดี
Cuma - จูม่า - วันศุกร์
Cumartesi - จูม่าแทซี - วันเสาร์
Pazar - พาซ่า - วันอาทิตย์
Bugün - บูกูน - วันนี้
Dün - ดูน - เมื่อวานนี้
Yarın - ยารึน - พรุ่งนี้
Gün - กูน - วัน
Hafta - ฮาพทา - สัปดาห์
Ay - ไอย - เดือน
ํYıl (ยึล) / Sene (แซแน) - ปี
Ocak - โอจั๊ค - มกราคม
şubat - ชูบาท - กุมภาพันธ์
Mart - มาร์ท - มีนาคม
Nisan - นิซาน - เมษายน
Mayıs - มายึส - พฤษภาคม
Haziran - ฮาซิราน - มิถุนายน
Temmuz - แทมมูซ - กรกฎาคม
Agustos - อากูสโทส - สิงหาคม
Eylül - ไอยลูล - กันยายน (ออกเสียงยากหน่อยสำหรับลิ้นคนไทย)
Ekim - แอคิม - ตุลาคม
Kasım - คาซึม - พฤศจิกายน
Aralık - อาราลึค - ธันวาคม
เอาล่ะวันนี้เราก็ได้รู้จักกับวัน เดือน ปี กันแล้ว สำหรับบทเรียนต่อไปเราจะมาเรียนเกี่ยวกับ ศัพท์ในครอบครัวกันดีกว่า สำหรับวันนี้ไปก่อนนะค่ะ บายค่ะ
วันอาทิตย์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2557
พูดภาษาตุรกี แบบง่ายๆ Speak Turkish easy #2
มาต่อกันเลยนะคะ สำหรับภาษาตุรกีแบบง่ายๆ และคิดว่าน่าจะได้ใช้ในชีวิตประจำวัน จากบทเรียนแรกคือ http://pembesen.blogspot.com/2014/04/speak-turkish-easy.html และ http://pembesen.blogspot.com/2014/04/number-in-turkish.html เราก็จะมาต่อเนื่องกันเลย ย้ำกันอีกที และจะย้ำกันบ่อยๆ ว่า บทเรียนเหล่านี้พิมเรียนรู้ด้วยตัวเองและอยากจะแชร์ให้ทุกคนอาจจะไม่ถูกทั้งหมดแต่ก็พยายามให้ใกล้เคียงที่สุด ถ้าถูกผิดก็ต้องขออภัยค่ะ ^__^ สำหรับบทเรียนนี้ เราก็จะเป็นประโยคหรือคำง่ายๆนะค่ะ เริ่มกันเลยยยย
สมมติว่ามีชาวตุรกี มาถึงก็พูดๆๆๆๆอะไรสักอย่างแล้วเราไม่เข้าใจก็ให้บอกเค้าไปว่า
"Anlamiyorum" - อันลามิโยรุม - ไม่เข้าใจ หรือ Anlamadım - อันลามาดึม - ไม่เข้าใจ
แต่ถ้าฟังแล้วไม่เข้าใจอยากให้พูดกันอีกสักรอบ ก็ใช้คำว่า "Lütfen tekrar edin" - ลุทแฟน แทค-ราร์ แอดิน - ได้โปรดพูดอีกสักรอบ หรือ ทวนใหม่อีกครั้งสิคะ
แต่ถ้าคุณได้ยิงประโยคคำถามอะไรไปและอยากรู้ว่าเค้าเข้าใจมั้ย ก็ให้ถามว่า " Anladınız mı?" - อันลาดึนึซ มึ? - เข้าใจมั้ยคะ
yavaş lütfen - ยาวาช ลุทแฟน - ได้โปรดช้าหน่อยค่า
ต่อไปก็จะเป็นคำเป็นประโยคง่ายๆที่ใช้ถามหรือพูดคุย
Bu ne ? - บูเน๊ะ - นี่อะไร ( จากครั้งที่แล้วพอจะจำกันได้มั้ยค่ะ ว่า bu ใช้กับสิ่งที่อยู่ใกล้ๆ เพราะฉะนั้นถ้าอยากแอ็บแบ๊วถามถึงสิ่งที่ไกลๆ เช่น เห็นนกเกาะเสาต้นไม้ แล้วไม่รู้จริงๆๆๆ ว่านั่นคืออะไร ก็ถามไปว่า şu ne - ชูเน๊ะ - นั่นอะไรอ่า )
Bu kim ? - บูคิม - นี่ใครค่ะ ( จำเอาไว้พูดเผื่อเห็นคุณแฟนคุยกะใครแล้วอยากรู้เนอะ ) แต่ถ้าแฟนตอบว่าเป็นเพื่อน แล้วคุณไม่แน่ใจก็ถามย้ำกลับไปว่า Emin misiniz ? - แอมิน มิสินิซ - มั่นใจนะค่ะ ชัวร์นะค่ะ
Ne - เน๊ะ - อะไร
Kim - คิม - ใคร
Ne zaman - เน๊ะ ซามาน - เมื่อไหร่
Nerede - เนเรเด๊ะ - ที่ไหน
Niçin (นิชิน) Neden (เนเดน) Niye (นิแย) - ทำไม
Hangi - ฮานกิ - อันไหน
Nasil - นาซิล - อย่างไร
Lütfen - ลุทแฟน - ได้โปรด
Evet - แอแวท - ใช่
Hayır - ฮาเยอร์ช - ไม่
Tamam - ทามาม - โอเค
Belki - เบลคิ - บางที
ต่อไปเราอาจจะได้ยินประโยคนี้เวลาไปตุรกี
Nerelisiniz - แนแรลิสินิซ - คุณมาจากที่ไหน Tayland lıyım - เทแลนด์ ลึยึม - มาจากประเทศไทย
Ne yapıyorsun ? - เน๊ะ ยาพึโยซุน - กำลังทำอะไรอยู่คะ
Yadin mi ? - ยาดึน มึ ? - กินข้าวรึยังคะ
Afiyet olsun - อาฟิแยท โอลซุน - กินให้อร่อยนะค่ะ (ใช้่เวลาที่รู้ว่าเค้าจะไปกินข้าวแล้ว หรือ กำลังกินก็ได้ค่ะ)
***********************แล้วพบกันบทเรียนหน้าค่ะ***********************
สมมติว่ามีชาวตุรกี มาถึงก็พูดๆๆๆๆอะไรสักอย่างแล้วเราไม่เข้าใจก็ให้บอกเค้าไปว่า
"Anlamiyorum" - อันลามิโยรุม - ไม่เข้าใจ หรือ Anlamadım - อันลามาดึม - ไม่เข้าใจ
แต่ถ้าฟังแล้วไม่เข้าใจอยากให้พูดกันอีกสักรอบ ก็ใช้คำว่า "Lütfen tekrar edin" - ลุทแฟน แทค-ราร์ แอดิน - ได้โปรดพูดอีกสักรอบ หรือ ทวนใหม่อีกครั้งสิคะ
แต่ถ้าคุณได้ยิงประโยคคำถามอะไรไปและอยากรู้ว่าเค้าเข้าใจมั้ย ก็ให้ถามว่า " Anladınız mı?" - อันลาดึนึซ มึ? - เข้าใจมั้ยคะ
yavaş lütfen - ยาวาช ลุทแฟน - ได้โปรดช้าหน่อยค่า
ต่อไปก็จะเป็นคำเป็นประโยคง่ายๆที่ใช้ถามหรือพูดคุย
Bu ne ? - บูเน๊ะ - นี่อะไร ( จากครั้งที่แล้วพอจะจำกันได้มั้ยค่ะ ว่า bu ใช้กับสิ่งที่อยู่ใกล้ๆ เพราะฉะนั้นถ้าอยากแอ็บแบ๊วถามถึงสิ่งที่ไกลๆ เช่น เห็นนกเกาะเสาต้นไม้ แล้วไม่รู้จริงๆๆๆ ว่านั่นคืออะไร ก็ถามไปว่า şu ne - ชูเน๊ะ - นั่นอะไรอ่า )
Bu kim ? - บูคิม - นี่ใครค่ะ ( จำเอาไว้พูดเผื่อเห็นคุณแฟนคุยกะใครแล้วอยากรู้เนอะ ) แต่ถ้าแฟนตอบว่าเป็นเพื่อน แล้วคุณไม่แน่ใจก็ถามย้ำกลับไปว่า Emin misiniz ? - แอมิน มิสินิซ - มั่นใจนะค่ะ ชัวร์นะค่ะ
Ne - เน๊ะ - อะไร
Kim - คิม - ใคร
Ne zaman - เน๊ะ ซามาน - เมื่อไหร่
Nerede - เนเรเด๊ะ - ที่ไหน
Niçin (นิชิน) Neden (เนเดน) Niye (นิแย) - ทำไม
Hangi - ฮานกิ - อันไหน
Nasil - นาซิล - อย่างไร
Lütfen - ลุทแฟน - ได้โปรด
Evet - แอแวท - ใช่
Hayır - ฮาเยอร์ช - ไม่
Tamam - ทามาม - โอเค
Belki - เบลคิ - บางที
ต่อไปเราอาจจะได้ยินประโยคนี้เวลาไปตุรกี
Nerelisiniz - แนแรลิสินิซ - คุณมาจากที่ไหน Tayland lıyım - เทแลนด์ ลึยึม - มาจากประเทศไทย
Ne yapıyorsun ? - เน๊ะ ยาพึโยซุน - กำลังทำอะไรอยู่คะ
Yadin mi ? - ยาดึน มึ ? - กินข้าวรึยังคะ
Afiyet olsun - อาฟิแยท โอลซุน - กินให้อร่อยนะค่ะ (ใช้่เวลาที่รู้ว่าเค้าจะไปกินข้าวแล้ว หรือ กำลังกินก็ได้ค่ะ)
***********************แล้วพบกันบทเรียนหน้าค่ะ***********************
พูดภาษาตุรกี แบบง่ายๆ Speak Turkish easy
สวัสดีค่ะ ต่อเนื่องกันจากครั้งที่แล้ว ที่เรานับเลขกัน คราวนี้พิมก็จะมาต่อกันด้วย การพูดจาภาษาตุรกี แบบง่ายๆ เท่าที่พิมจะหามาได้ นะค่ะ เพราะอย่างที่เคยบอกว่า พิมเองก็ไม่ได้เชี่ยวชาญในเรื่องของภาษาตุรกี แต่ทั้งหมดเกิดจากการศึกษาด้วยตนเอง และอาศัยฟังจาก youtube บ้างบางครั้ง ก็เลยอยากจะถ่ายทอดออกมา สำหรับคนที่แพลนไว้ว่าจะไปเที่ยวตุรกี ไม่ว่าจะไปหาแฟน ไปท่องเที่ยว เพราะจากสถิติที่พิมเขียนบล็อก ดูเหมือนว่าสาวๆหลายคนจะมีหวานใจอยู่ที่ตุรกีกันพอสมควร เอาล่ะ มาเริ่มกันเลยย
first of all I have to explain my idea . This is Turkish lesson that i 've learned by myself from internet so it may not most correct but I try to share my knowledge to Thai women who have plan go to Turkey or keep it to talk with their friends. I hope this lesson will help them . and if i do anything mistake in this lesson I apologize to everyone .... pimmy
Merhaba - แมฮาบ่า - สวัสดี ( พยายามออกเสียงให้ดัดจริตตามคำอ่านเลยนะค่ะ 555+ มันจะได้ใกล้เคียง)
Selam - แซล่าม - สวัสดี ( อันนี้ใช้สำหรับคนทั่วไปที่เราค่อนข้างสนิทสนม ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนหรือคนในครอบครัว)
adın nedir ? - อะดึน เนดิรช์ - คุณชื่ออะไร หรือ adınız ne ? - อะดึนนึซ เน๊ะ ? คุณชื่ออะไร
benim adım......................(ตามด้วยชื่อ) - แบนิม อะดึม - ฉันชื่อ.............
first of all I have to explain my idea . This is Turkish lesson that i 've learned by myself from internet so it may not most correct but I try to share my knowledge to Thai women who have plan go to Turkey or keep it to talk with their friends. I hope this lesson will help them . and if i do anything mistake in this lesson I apologize to everyone .... pimmy
Merhaba - แมฮาบ่า - สวัสดี ( พยายามออกเสียงให้ดัดจริตตามคำอ่านเลยนะค่ะ 555+ มันจะได้ใกล้เคียง)
Selam - แซล่าม - สวัสดี ( อันนี้ใช้สำหรับคนทั่วไปที่เราค่อนข้างสนิทสนม ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนหรือคนในครอบครัว)
adın nedir ? - อะดึน เนดิรช์ - คุณชื่ออะไร หรือ adınız ne ? - อะดึนนึซ เน๊ะ ? คุณชื่ออะไร
benim adım......................(ตามด้วยชื่อ) - แบนิม อะดึม - ฉันชื่อ.............
tanıştığmıza memnun oldum. - ทานึช ทึล มึซา เมมนุน โอดุม - ยินดีที่ได้รู้จัก
หรือถ้าจะให้มาเป็นประโยคเลย เวลาที่จะแนะนำตัวเอง ก็สามารถใช้ดังนี้ได้ค่ะ
Selam ben ....... tanıştığmıza memnun oldum - เซล่าม แบน ......(ชื่อของคุณ) ทานึช ทึล มึซา เมมนุน โอดุม - สวัสดีค่ะ ฉันชื่อ ..... ยินดีที่ได้รู้จักค่ะ
merhaba ben ....... tanıştığmıza çok memnun oldum - แมฮาบ่า แบน .....(ชื่อและนามสกุล) ทานึช ทึล มึซา ช็อค เมมนุน โอดุม - สวัสดีค่ะ ฉันชื่อ ..... ยินดีที่ได้รู้จักค่ะ
ต่อมาเราก็จะมาทำการรู้จักกับการขอบคุณ
Teşekküler. - แทแชคคิวแลร์ช ( อย่าลืมออกเสียง "ช" สักนิดนึงนะค่ะ) - ขอบใจ
Teşekkür ederim - แทแชคิว แอแดริม - ขอบคุณ
Sağol - ซาว - ขอบใจ
çok teşekkür ederim - ช็อค แทแชคิว แอแดริม - ขอบคุณมาก
bir şey değil - เบียร์ช แช ดีล - ไม่เป็นไร หรือ ยินดีค่ะ ( ใช้เวลาใครขอบคุณเรา )
sorun değil - โซรุน ดีล - ไม่เป็นไร หรือ ไม่มีปัญหา หรือยินดี ( ใช้เวลาใครขอบคุณเราเช่นกันจ้า )
ต่อมาเราก็จะมารู้จักคำที่ใช้เวลาขอโทษกัน
Afedersiniz - อาแฟแดสินิซ - ขอโทษนะค่ะ........(ใช้ก่อนที่จะขออนุญาติทำอะไร เช่น ขอโทษนะค่ะ เสื้อตัวนี้เท่าไหร่ หรือ ขอโทษก่อนถามทาง อะไรประมาณนี้ค่ะ )
Afedersin - อาแฟแดสิน - ใช้แบบเดียวกับ Afedersiniz แต่ความเป็นทางการ afedersin จะน้อยกว่า
pardon - พารโดน - ใช้แบบเดียวกับ Afedersiniz และ afedersin แต่จะเป็นทางการน้อยทีสุด
Özür dilerim - โอซูร์ ดีแลริม - ฉันเสียใจ ฉันขอโทษ แต่ว่าคำนี้ไม่ค่อยนิยมใช้ ส่วนใหญ่ก็จะใช้คำว่า Afedersiniz / afedersin และ pardon ซะมากกว่า
ต่อมาเราก็จะไปช็อปปิ้งกัน ใช่เลยค่ะ เราจะหัดถามราคากันค่ะ
Bu kaç para - บู คัช พารา - อันนี้ราคาเท่าไหร่ (คำว่า bu เนี่ย ใช้กรณี ที่สิ่งของที่คุณต้องการซื้ออยู่ในระยะใกล้ พอที่จะเอานิ้วจิ้มไปถามได้ และถ้ามันไกลเกินเอื้อม ให้เปลี่ยนเป็น şu kaç para - ชู คัช พารา - อันโน้นอ่ะราคาเท่าไหร่ ) แต่เพื่อความสุภาพ เอาอาจจะเติมคำว่า Afedersiniz ลงไป เช่น Afedersiniz , bu kaç para ? ขอโทษนะค่ะ อันนี้เท่าไหร่ ? คราวนี้ แม่ค้าพ่อค้าก็จะตอบราคากลับมา เช่น
Afedersiniz , bu kaç para ? ( อาแฟแดสินิซ บู คัช พารา ) ขอโทษนะค่ะ อันนี้เท่าไหร่
bu yirmi iki lira . ( บู ยิรมิ อิคิ ลีร่า ) อันนี้ 21 ลีร่า
และการถามราคาในอีกรูปแบบนึง ที่คาดว่าจะได้ยินกันบ่อยพอสมควรในตุรกีคือ
Ne kadar - เน คาดาร์ช - เท่าไหร่
ถ้าจะให้เจาะจงไป ก็เช่นเดิมคือ เติม bu / şu เข้าไป เช่น bu ne kadar ( บู เน คาดาร์ช ) อันนี้เท่าไหร่
หลังจากช็อปปิ้งกันเสร็จแล้ว เราอาจจะเดินไปเจอใครต่อใคร ซึ่งเค้าอาจจะมายิงคำถามใส่เราเป็นภาษาตุรกี เอาล่ะจะทำไงดี ใช่ค่ะ ถ้าคุณพูดภาษาอังกฤษได้และอยากให้เค้าพูดภาษาอังกฤษกับคุณก็ต้องถามกลับไปตามนี้ค่ะ
Ingilizce kunuşabiliyor musun ? - อิงกิลิซเจ คุนุ ชาบิลิยอร์ มุซุน - พูดภาษาอังกฤษได้มั้ยคะ
Ingilizce kunuşabiliyor musunuz ? - อิงกิลิซเจ คุนุ ชาบิลิยอร์ มุซุนนุส - พูดภาษาอังกฤษได้มั้ยคะ (อันนี้จะเป็นทางการกว่า )
ในขณะเดียวกัน เค้าก็อาจถามคุณ ว่า Türkce kunuşabiliyor musun ? - ทุกเจ คุนุ ชาบิลิยอร์ มุซุน - พูดภาษาตุรกีได้มั้ย
Ingilizce bilmiyorum - อิงกิลิซเจ บิลมิโยรุม - พูดภาษาอังกฤษไม่ได้ หรือเค้าอาจตอบสั้นๆว่า yok - ยอค - แปลว่าไม่ หรือ evet - แอแวท - ใช่
Türkce kunuşabiliyor musun ? / Türkce bilmiyorum หรือ Yok - พูดภาษาตุรกีได้มั้ย / พูดไม่ได้ หรือ ตอบสั้นว่า ไม่ / evet -ใช่
................................. เอาไว้เรามาต่อกันที่ภาค 2 นะค่ะ ..................................
นับเลขภาษาตุรกีกัน Number in Turkish
สวัสดีค่ะ ทุกๆคน หลังจากที่หายจากการเขียนบล็อกไปพักใหญ่ๆเลย อยู่ๆก็เกิดไอเดียว่าอยากจะเขียนบล็อกขึ้นมา โดยมี topic คือภาษาตุรกี เนื่องจากว่า โดยประสบการณ์ของตัวเองที่ไม่สามารถพูดอ่านเขียนภาษาตุรกีได้เลย ทำให้การท่องเที่ยวในประเทศตุรกีเนี่ย ไม่สนุกเอาซะเลย ทั้งๆที่สถานที่เค้าก็สวย ข้าวของก็น่าจับจ่ายใช้สอย ก็เลยตัดสินใจเริ่มศึกษา ดังนั้น พิมออกตัวก่อนเลยนะค่ะ ว่า นี่คือการเรียนรู้ภาษาตุรกี ของพิม ที่อยากจะเรียนรู้ไปกับทุกคน จึงไม่มีคำว่า "ถูกที่สุด" และ "ผิดที่สุด" เรื่องไหนถ้าผิดให้คำแนะนำพิมได้นะค่ะ เอาล่ะ เรามาเริ่มกันเลยยยยย
first of all I have to explain my idea . This is Turkish lesson that i 've learned by myself from internet so it may not most correct but I try to share my knowledge to Thai women who have plan go to Turkey or keep it to talk with their friends. I hope this lesson will help them . and if i do anything mistake in this lesson I apologize to everyone .... pimmy
เริ่มกันจากตัวเลข เบสิคเลยคือเราควรรู้จักตัวเลข เพราะมันจะมีอยู่ทั่วไปให้เราได้เห็นกัน รวมถึงการแลกเปลี่ยนเงินตรา เอาล่ะๆๆ เริ่มล่ะนะ
1 - bir - เบียรช์ ( งงมั้ยค่ะ อันนี้จากการสังเกตุของพิม ตุรกีแอบมีเสียง "ช" ด้วย พิมเลยใส่ไปเลยจะได้อ่านง่ายๆ )
2 - iki - อิคิ
3- üç - อุช
4 - dört - เดิท ( พิมพยายามจะเขียนให้ตรงสำเนียงที่สุด อาจไม่ใช่การออกเสียงที่ถูกที่สุดแต่คิดว่าใกล้เคียง)
5 - beş - เบช
6 - altı - อัลทึ
7 - yedi - เยดิ
8 - sekiz - เซคิส
9 - dokuz - โดคุส
10 - on -โอน
คราวนี้เราก็จะนับ 1-10 ได้แล้วนะค่ะ แล้วถ้า 11 - 20 ล่ะ การผสมเลขของตุรกี ง่ายกว่าที่เราคิดค่ะ ตามนี้เลยค่ะ
11 คือ นำ 10 ( on )มารวม กับ 1 (bir) เราก็จะได้ onbir ( โอนเบียรช์) 11
12 คือ นำ 10 ( on )มารวม กับ 2 (iki) เราก็จะได้ oniki ( โอนอิคิ) 12
ดังนั้น 13 - 19 ก็จะทำในรูปแบบเดียวกันนะค่ะ
แต่ว่า 20 ตุรกีจะเขียนว่า yirmi ( ยิรมิ ) ออกเสียงให้เร็วและควบตัว "ร" เข้าไปด้วยนะค่ะ รับรองว่าจะใกล้เคียง
คราวนี้พอเราได้ 20 แล้ว การนับ 21 - 29 ก็จะทำเหมือนกับ 11-19 คือการนำ 20 มารวมกับ 1 - 9 เช่น
21 คือ นำ 20 (yirmi) มารวมกับ 1 (bir) เราก็จะได้ yirmi bir ( ยิรมิ เบียรช์) 21
มาต่อกันที่ 30 - 100 กันเลยดีกว่า
10 - on - โอน
20 - yirmi - ยิรมิ
30 otuz - โอทุซ
40 kırk - ขึก
50 elli - เอลลิ
60 altmış - อัลทมึช
70 yetmiş - เยทมิช
80 seksen - เสกสัน
90 doksan - โดกซาน
100 yüz - ยุซ
เป็นไงกันบ้างค่ะ ไม่ยากเลยใช่มั้ยค่ะ ตามที่ได้บอกไว้ก่อนหน้านี้แล้วว่า พิมอาจไม่ถูกทั้งหมดในการเขียนออกเสียงแต่คิดว่าใกล้เคียงที่สุดแล้วค่ะ ตามลิ้นของคนไทยอย่างเรา ทั้งหมดเกิดจากการเรียนรู้และสังเกตุค่ะ หวังว่าคงจะเป็นประโยชน์กับทุกคนไม่มากก็น้อยนะค่ะ วันนี้ขอจบเรื่องตัวเลขแค่นี้ก่อนค่ะ แล้วมาเจอกันอีกทีในเรื่องของการทักทาย ในภาษาตุรกีค่ะ ^___________^
first of all I have to explain my idea . This is Turkish lesson that i 've learned by myself from internet so it may not most correct but I try to share my knowledge to Thai women who have plan go to Turkey or keep it to talk with their friends. I hope this lesson will help them . and if i do anything mistake in this lesson I apologize to everyone .... pimmy
เริ่มกันจากตัวเลข เบสิคเลยคือเราควรรู้จักตัวเลข เพราะมันจะมีอยู่ทั่วไปให้เราได้เห็นกัน รวมถึงการแลกเปลี่ยนเงินตรา เอาล่ะๆๆ เริ่มล่ะนะ
1 - bir - เบียรช์ ( งงมั้ยค่ะ อันนี้จากการสังเกตุของพิม ตุรกีแอบมีเสียง "ช" ด้วย พิมเลยใส่ไปเลยจะได้อ่านง่ายๆ )
2 - iki - อิคิ
3- üç - อุช
4 - dört - เดิท ( พิมพยายามจะเขียนให้ตรงสำเนียงที่สุด อาจไม่ใช่การออกเสียงที่ถูกที่สุดแต่คิดว่าใกล้เคียง)
5 - beş - เบช
6 - altı - อัลทึ
7 - yedi - เยดิ
8 - sekiz - เซคิส
9 - dokuz - โดคุส
10 - on -โอน
คราวนี้เราก็จะนับ 1-10 ได้แล้วนะค่ะ แล้วถ้า 11 - 20 ล่ะ การผสมเลขของตุรกี ง่ายกว่าที่เราคิดค่ะ ตามนี้เลยค่ะ
11 คือ นำ 10 ( on )มารวม กับ 1 (bir) เราก็จะได้ onbir ( โอนเบียรช์) 11
12 คือ นำ 10 ( on )มารวม กับ 2 (iki) เราก็จะได้ oniki ( โอนอิคิ) 12
ดังนั้น 13 - 19 ก็จะทำในรูปแบบเดียวกันนะค่ะ
แต่ว่า 20 ตุรกีจะเขียนว่า yirmi ( ยิรมิ ) ออกเสียงให้เร็วและควบตัว "ร" เข้าไปด้วยนะค่ะ รับรองว่าจะใกล้เคียง
คราวนี้พอเราได้ 20 แล้ว การนับ 21 - 29 ก็จะทำเหมือนกับ 11-19 คือการนำ 20 มารวมกับ 1 - 9 เช่น
21 คือ นำ 20 (yirmi) มารวมกับ 1 (bir) เราก็จะได้ yirmi bir ( ยิรมิ เบียรช์) 21
มาต่อกันที่ 30 - 100 กันเลยดีกว่า
10 - on - โอน
20 - yirmi - ยิรมิ
30 otuz - โอทุซ
40 kırk - ขึก
50 elli - เอลลิ
60 altmış - อัลทมึช
70 yetmiş - เยทมิช
80 seksen - เสกสัน
90 doksan - โดกซาน
100 yüz - ยุซ
เป็นไงกันบ้างค่ะ ไม่ยากเลยใช่มั้ยค่ะ ตามที่ได้บอกไว้ก่อนหน้านี้แล้วว่า พิมอาจไม่ถูกทั้งหมดในการเขียนออกเสียงแต่คิดว่าใกล้เคียงที่สุดแล้วค่ะ ตามลิ้นของคนไทยอย่างเรา ทั้งหมดเกิดจากการเรียนรู้และสังเกตุค่ะ หวังว่าคงจะเป็นประโยชน์กับทุกคนไม่มากก็น้อยนะค่ะ วันนี้ขอจบเรื่องตัวเลขแค่นี้ก่อนค่ะ แล้วมาเจอกันอีกทีในเรื่องของการทักทาย ในภาษาตุรกีค่ะ ^___________^
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)